วันพฤหัสบดีที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เครื่องดนตรีภาคกลาง

เครื่องดนตรีภาคกลาง




        หน้าหลัก                                                                              เครื่องดนตรีภาคกลาง
        การแสดงพื้นเมืองภาคกลาง          เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดงของภาคกลาง ได้แก่ วงปี่พาทย์      
        เพลงพื้นเมืองภาคกลาง                                           วงปี่พาทย์ คือวงดนตรีที่ประกอบด้วย เครื่องตีเป็นหลักโดยมี     
        ตัวอย่างการแสดง                     เครื่องเป่าคือปี่เป็นประธาน  มีเครื่องกำกับจังหวะเป็นส่วนประกอบด้วย วงปี่พาทย์
                                                        สามัญ สำหรับ บรรเลงกับการแสดง และประโคมทั่วไป แบ่งออกเป็น 3 ขนาดคือ
                                                        1. วงปี่พาทย์เครื่องห้า
                                                            มีเครื่องดนตรีที่ผสมในวง โดยมีวิธีบรรเลงและหน้าที่ต่างๆ กันดังนี้
                                                            - ปี่ใน        เดินทำนองถี่ๆ บ้าง โหยหวนเป็นเสียงยาวบ้าง มีหน้าที่ดำเนินทำนอง
                                                                           และช่วยนำวง
                                                           - ระนาดเอก  ตีพร้อมกัน ๒ มือเป็นคู่ ๘ เดินทำนองเก็บถี่ๆ โดยตลอด มีหน้าที่เป็น
                                                                           ผู้นำวง
                                                           - ฆ้องวงใหญ่ ตีพร้อมกัน ๒ มือบ้าง ตีมือละลูกบ้าง มีหน้าที่ดำเนินทำนองเนื้อเพลง
                                                                            เป็นหลักของวง
                                                           - ตะโพน      ตีมือละหน้า ให้เสียงสอดสลับกัน มีหน้าที่กำกับจังหวะหน้าทับให้รู้วรรค
                                                                           ตอนของเพลง และเป็นผู้นำกลองทัดด้วย
                                                           - กลองทัด   ตีห่างบ้างถี่บ้าง ตามแบบแผนของแต่ละเพลง
                                                           - ฉิ่ง          โดยปกติตีสลับกันให้ดังฉิ่งทีหนึ่ง ดังฉับทีหนึ่ง โดยสม่ำเสมอ มีหน้าที่
                                                                          กำกับจังหวะย่อย ให้รู้จังหวะเบาจังหวะหนัก

                                                        

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น